วันพฤหัสบดีที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559

เครื่องไล่หนูมีคุณสมบัติ หลักการทำงานอย่างไร และ สามารถไล่หนูได้อย่างไร





 ร่วมกลุ่มนักเขียนท่อง ต ประเทศจะว่าไปแล้ว หนังสือพิมพ์ “พิมพ์ไทย” กับผมควรถือได้ว่าเป็นบ้านเก่า-บ้านเกิดเมื่อครั้งยังปักหลักที่ถนนสีลมในฐานะ “นักข่าวภูธร” ประจำจังหวัดชลบุรี ซึ่งในสนัยนั้นบุคคลที่เป็นหัวหน้าข่าวภูธรก็คือคุณบรรจบชุวานนท์ การได้กลับมานั้งทำงาน “พิมพ์!ทย” จึงไม่ค่อยรู้สึกว่าเป็นอะไรที่ไม่คุ้นเคย แม้แต่คุณไชยยงค์เองครั้งหนึ่งเคยเดินไปตามสะพานธารนทีไปที่บ้านผมตามนโยบายเยี่ยมนักข่าว โดยมี ม.ล.ต้อย ชุมสายหรือแม้แต่คุณประหยัด ศ.นาคะนาท อย่างที่ผมเคยเล่ามาก่อนแล้วเพียงแต่ภาระหน้าที่ใหม่ของผมคือดูแลสารคดีที่จะต้องนำเสนอต่อผู้อ่าน ผมจึงมีโอกาสได้ซักหรือถามถึงรูปแบบที่ทำให้เกิดการเขียนสารคดีของ “เซษฐ์” จากที่เล่ามาแล้ววันหนึ่งคุณมานะได้นำเอาจดหมายฉบับหนึ่งมาล่งให้พร้อมกับบอกว่าช่วยดูด้วยว่าจะเอาลงได้ยังไงหรือเปล่า ผมรับจดหมายนั้นมาจึงเห็นว่าจดหมายเพียงแค่การบอกกล่าวถึงเนื้อหาที่เขียนมาซึ่งจะนำมาเป็นสารคดีก็ไม่เลวนัก คุณมานะยังบอกไว้ด้วยว่า ถ้านำลงได้ยังไงเขาจะเขียนส่งมาให้อีก จดหมายหรือเนื้อหาที่ว่านี้ส่งมาจากโคโรลาโด สหรัฐอเม'ริกา ผู้เขียนกำลังศึกษาอยู่ที่นั่น ดูเหมือนจะเป็นปีสุดท้ายด้วยซ้ำถ้าผมจำไม่ผิดและอีกไม่กี่วันก็มีเนื้อหาส่งตามมาอีก ผมจึงได้ดำเนินการตามภาระและนำลงเป็นสารคดีประจำฉบับ มืชื่อผู้เขียนกำกับด้วยเสร็จคือ “สมชายกรุสวนสมบัติ”ปรากฏว่ามืสารคดีลงต่อเนื่องมาอีกซึ่งจำไม่ได้ว่ามีความยาวขนาดไหน สารหนู และต่อมาเจ้าตัวผู้เขียนก็เดินขึ้นมาบนสำนักงานแล้วบอกกับคุณมานะว่ายังอยากเขียนหนังสืออีกระหว่างรองาน คุณมานะคงจะคุยหรือซักถามกันเรียบร้อยแล้วให้มาช่วยด้านกีฬาถ้าท่านผู้อ่านยังนึกไม่ออกว่าคุณสมชายเป็นใคร แต่คงร้องอ๋อเพียงแค,จะบอกว่าเขาเป็นเจ้าของคอลัมน์ “เหะหะพาที” ในไทยรัฐ ซึ่งก็คือ ม” นั่นเอง และยังเขียนมายาวนานจนกระนั่งปัจจุบันนี้
“สงครามรถถัง มืคนเขียนไม่น้อยกว่าสี่คนทีผมเอามาอ่าน แต่ละคนมืเนื้อหาที่น่าสนใจต่างกัน ผมก็หยิบเอามาแล้วจัดเรียงเสียใหม่เป็นงานที่บอกไม่ได้ว่าเป็นของใครคนใดคนหนึ่ง...” คุณไชยยงค์ หรือ “เชษฐ์” เล่าให้ผมฟังผมเก็บเอาเนื้อหาเหล่านี้มาเล่าก็เพราะอยากให้ท่านผู้อ่านที่เคยติดตามงานของคุณไชยยงค์จะได้ผู้ถึงเบื้องหลังของงานเขียนชิ้นนั้นๆ หรือผู้ที่สนใจใคร่จะแปล-เรียบเรียงเรื่องราว อาจจะได้แนวคิดจากการทำงานนี้ด้วยก็ได้   ขอเก็บเอาส่วนที่พาดพิงถีงคุณไชยยงค์มาเล่าต่ออีกหน่อย หล้งจากลาออกจากทีวีสีช่อง ๗ แล้วผมก็มีเวลาว่างมากจึงไปนั่งทำงานที่ “พิมพ์ไทย” แต่เช้าทุกวัน จนวันหนึ่งถูก ผอ.ไชยยงค์เรียกให้ไปพบแล้วถามว่าอ่านข่าวตำรวจกองปราบฯ ไปจับโล๓ณีกว่า ๒๐๐ คนที่ชลบุรีหรือยัง ผมตอบว่าได้อ่านแล้ว ยังสงสัยว่าแค่จับโสเภณีถึงกับกองปราบฯ ต้องยกกำลังไปจับเชียวหรือ ทั้งๆ ที่ท้องที่เสม็ดไม่ได้ไกลไปจากตัวเมืองสักเท่าไหร่คุณไชยยงค์คงจะถูกใจบอกว่า น่านซิ ผมถึงอยากให้คุณไปดู เผื่อว่าจะมีอะไรเขียนบ้างผมขับรถไปที่โรงเรียนพลตำรวจซึ่งเป็นที่ควบคุมตัวโสเภณีที,ว่านั่นอยู่เชิงเขาน้อย (ปัจจุบันจะรื้อไปแล้วหรือยังไม่ทราบเหมือนกัน) ผมรู้จักพื้นที่ดีเพราะเป็นคนในเมืองชลบุรี ผมผ่านเข้าโรงเรียนพลตำรวจไปได้สะดวก แล้วจึงพบว่าในห้องโถงโล่งๆ นั้นมีโสเภณีกว่า ๒๐๐ คน ต่างอยู่ในอิริยาบถต่างๆ กัน ไม่มีใครรู้ว่าผมเป็นนักข่าว เพียงแต่มองอย่างสงสัยผมแกล้งเปรยๆ ว่า ทำไมตำรวจพื้นที่ไม่จับปล่อยให้กองปราบฯมาจับ มีโสเภณีคนหนึ่งบอกว่า ตำรวจท้องที่ไม,จับหรอก แค,นั้นก็เดาได้แล้วว่าทำไมหน้าที่จึงกลายเป็นกองปราบฯ ผมเร่ไปคุยคนโน้นคนนี้ด้วยประเด็นถามที่คล้ายๆ กัน บางคนย้อนถามว่าเป็นตำรวจมาสอบปากคำหรือ ผมหัวเราะแล้วบอกว่าก็อยากรู้เหมือนกันว่าทำไมกองปราบฯ ถึงมาจับไม่มีกล้องถ่ายภาพ โรงพยาบาล ไม่มีการหยิบกระดาษมาจด คุยกัน สะดุดใครคนไหนก็นั่งชักนานหน่อย ผมจะคุยไปเรื่อยๆ บังเอิญผมไปถึงที,นั่นบ่ายแล้วจึงได้เดินทางกลับหลังจากใช้เวลาเพียงสาม-สี่ชั่วโมง โดยบอกกับตัวเองว่า พรุ่งนี้คงต้องกลับมาอีกแน่ๆ เพราะเนื้อหาที่ได้ในช่วงนี้น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียวรุ่งขึ้นพอสายๆ




ผมก็ขับรถไปที่นั่นอีก คราวนี้ใช้เวลาเรียกว่าทั้งวันคุยกับหลายต่อหลายคน ผู้คนเหล่านี้มีความเป็นไป หรือความเป็นอยู่ที่ใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็นสาวเหนือ...สาวอีสาน หรือภาคกลาง ซึ่งถ้าจะสรุปก็คงหนีไม่พ้นการถูกล่อลวง ผมอยู่ที่นั่นจนเย็นจึงกลับมานั่งจดบันทึกเนื้อหาที่คุยมาและเรียกว่ามองแนวทางที่จะเขียนรุ่งขึ้นผมเข้าไปรายงานคุณไชยยงค์พอให้เข้าใจในประเด็นของเรืองคุณไชยยงคียิ้มด้วยความพอใจ “เขียนได้เลยไหม” คุณไชยยงค์ถาม “คุณเขียนได้ยาวเลยจนจบ” ผมตอบว่าขอเวลาอีกสองวันชีวิตของผู้คนที่จะว่าถูกล่อลวงมานั้นไม่ใช่ทั้งหมดเสียทีเดียว ส่วนหนึ่งสาวๆ ทางเหนือจะเกิดจากพ่อ-แม่ขายให้ “คุณนาย” นั่งรถเก๋ง แต่งเนื้อแต่งตัวด้วยเครื่องประดับวูบวาบ อยากได้บุตรบุญธรรมไว้ดูแลทรัพย์สมบัติ พ่อ-แม่ที่ไหนจะไม่ตาโต เพราะนอกจากลูกจะสุขสบายแล้วยังจะได้พึ่งใบบุญอีก หลายต่อหลายคนจึงถูกขายและเป็นลูกบุญธรรมในช่องผมเก็บรวมชีวิตของโสเภณีที่มีความต่างในเบื้องต้นและในการเดินทางมายังจุดหมายเดียวกัน เท่าที่ไปคุยมาเห็นว่ามีอยู่ห้าคนที่น่าสนใจในประเด็นที่ผมว่านั่นแหละผมเปิดเรื่อง “โลกีย์สีเลือด” เหมือนเขียนบทหนังโดยให้โสเภณีคนหนึ่งที่ผมใช้ชื่อว่า “นกกระจิบ” เผ่นหนีออกมาจากช่องในเวลากลางคืนเดือนมืด แต่สมุนของช่องกระโจนออกตามไล่ต้อนสกัดทั้งสี่ทิศทางจึงหนีไม่รอด... เครื่องไล่หนูไฟฟ้า ตามมาด้วยการซ้อม...อันเป็นบทเรียนที่ทำให้คนอื่นต่างระย่นย่อไปตามกันปรากฏว่าได้รับการต้อนรับจากคนอ่านไม่น้อย และในเนื้อหาที่ผมเก็บรวมมานั้นทำให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตั้งกระทู้ถามถึงการปราบปรามและการทำงานของตำรวจไปถึงการควบคุมโสเภณีเป็นข่าวขึ้นมาอีก พอเรื่องจบ สำนักพิมพ์โอเตียนก็ฃอซื้อเอาไปลัดพิมพ์เป็นเล่ม ทำให้ผมมืหนังสือหนึ่งเล่มจากผลของการไปเยี่ยมโสเภณีกว่าสองร้อยคนจะว่าไป การทำงานที่พิมพ์!ทยในระยะที่ไม่มีงานอื่นนอกจากเขียนบทละครโทรทัศน์เป็นงานอีกส่วนหนึ่งนั้น มีอิสระและสนุก เพราะ ผมไม่ยุ่งกับข่าวหน้าหนึ่งแต่ก็สนิทสนมคุ้นเคยกับนักข่าวทุกคนเผด็จ ภูรีปติภาน ก้าวเข้ามาเริ่มชีวิตนักข่าวที่นึ่ไล่ๆ กันนั้นก็คือสันติ เศวตวิมล จากชลบุรีก็ตามมา สำหรับ “ปีนครก” เขียนข่าวสังคมเหมือนหน้าสี่ในทุกวันนี้สลับกับ “ไต้ก๋ง” คือคุณเจริญ (ผมจำนามสกุลไม่ได้) ก็เริ่มต้นที่นึ่เหมือนกัน ผมเองได้คุณพนอ ฉาบสุวรรณ มาช่วยอีกแรงหนึ่งนอกเหนือ1จากมีคุณธวัซอยู่แล้ว  สัญญาณเครื่องไล่หนู สำเริง เนาวลัยศรี คุมหน้าบันเทิงผมได้พบคุณศรีรัตน์ สถาปนวัฒน์ ที่นี่มาทำ “พิมพไทย-เบื้องหลังข่าว” รายปักษ์ ผมได้พบคุณเสถียร จันทิมาธร ในงานที่ล่งมาด้วยนามปากกา “สาหร่าย” คุณเสถียรเขียนถึง “พิมพ็ใทย” ไว้ว่า“เรื่องหนื่งที่ไม่เคยสิมก็คือ เนื่องจากพิมพ์ไทยมีรากฐานเป็นหนังสือพิมพ์ที่ได้มาตรฐาน ห้องสมุดข่าวของพิมพ์ไทยดีมาก ที่ยอดเยี่ยมกว่านั้นก็คือ ห้องสมุดของพิมพ์ไทยเก็บหนังสือในเครือบริษัทไทยพาณิชยการ จำนัด ไว้ครบถ้วน ตงแต่ยุคสีลม ผมได้อ่านจนหมดเกลี้ยงไม่ว่า สยามสนัย พิมพ์ไทยรายเดือน หรือเริงรมย์ก็ตาม อยู่พิมพ์ไทย ๑ปี เหมือนเข้ามหาวิทยาล้ย์เป็นสิบๆปี...”



โรคฉี่หนู
จอดเพราะเกิดมีการต่อล้กันแม้จะห่างออกไปก็ไม่ปลอดภัย ทุกคนต้องกระโดดลงจากเครื่องซึ่งก็เรียบร้อยดี ไม่มีใครเป็นอะไร จนกระทั่งเดินทางกลับไช่ง่อนเพื่อเตรียมตัวกลับ นายทหารคนสนิทนายหนึ่งของแม่ทัพนำ “ดอลลาร์เขียว” อันเป็นธนบัตรที่สหรัฐจัดพีมพัให้ทหารจับจ่ายสิ่งของ63ในร้านในค่ายมาแจกแก,บรรดานักข่าวโดยทั่วหน้ากัน คิดเป็นเงินไทยในขณะนั้นราว ๒,^๐๐ บาทนายทหารบอกว่าใครอยากได้ของใช้ประ๓ทเครื่องใช้ไฟฟ้าสามารถนำเงินนี้ไปจับจ่ายได้และนำกลับไปได้ด้วย“ข้าพเจ้าหันไปถามนายทหารคนสนิทคนนั้นว่า พรุ่งนี้เรามีโปร-แกรมอะไรที่จะต้องทำ นายทหารตอบว่า พักผ่อน หรือใครอยากซื้อของก็จะพาไป หรือไปเยี่ยมทหารที่นอนป่วยก็ได้” ข้าพเจ้าเร่ไปหาคุณโชติที่มือบังถือ “ดอลลาร์เขียว” อยู่ แล้วเปรยกับคุณโชติว่า “ผมรู้แล้วว่าจะทำอย่างไรกับเงินจำนวนนี้” คุณโชติพยักหน้าไม่ยิ้มเห็นแต่ความขรึมเหมือนครุ่นคิดอะไรอยู่ในใจรุ่งขึ้นเราไปพร้อมกัน บริเวณที่พักทหารบาดเจ็บนั้นไม่ใช่โรงพยาบาล แต่เป็นบริเวณที่จัดไว้เป็นสถานพยาบาลที่สะอาดตา มีนายทหารและพลทหารนอนพักรักษาตัวกันพอประมาณ เราใช้เวลาตรงนั้นไม่นานนัก ข้าพเจ้าหยุดเดินและรู้สึกในขณะนั้นว่าคุณโชติได้ก้าวเข้ามายืนช้างข้าพเจ้า“ผมคิดว่าเงินจำนวนที่แม่ทัพมอบให้เรานั้นไม่มีความจำเป็นใดๆเลย ผมขอมอบให้เป็นส่วนหนึ่งของการรักษาพยาบาล” แล้วข้าพเจ้าก็ส่งเงินทันทีเกือบจะพร้อมกัน ข้าพเจ้าก็เห็นมือกำ “ดอลลาร์เขียว” ของคุณโชติยื่นเข้ามาพร้อมกับบอกว่า “ผมร่วมสมทบด้วย” เขาพูดลันๆ แต่ทำให้ข้าพเจ้าชื่นใจคืนวันนั้นมีงานเลี้ยงส่งอาหารคาว-หวานเพียบ แม่ทัพฉลาดกล่าวขอบคุณนักข่าว ข้าพเจ้าเป็นผู้ตอบรับและเมื่อเดินมาที,โต๊ะซึ่งมีคุณโชตินั่งอยู่ด้วย คุณโชติยื่นมือมาจับ”ผมจบเนื้อหาในหนังสืออนุสรณ์ไว้เพียงแค่นี้ อันที่จริงพวกเราที่ไปเยี่ยมค่าย “เสือดำ”  ก่อนหน้านื้มืหลายกลุ่ม โดยไปในนามของหนังสือพิมพ์นั้นๆ มีการแจก “ดอลลาร์เขียว” ทุกเที่ยว จนทำให้แต่ละคนขนเครื่องใช้ไฟฟ้ากันมาทั้งเอามาใช้และเอามาขายเอากำไร ผมกล่าวตอบแม่ทัพวันเลี้ยงลาในทำนองว่า พวกเรามาทำงานและไม่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเงินแต่อย่างใด ผมไม่พูดมากนักเพราะหลายคนรับเงินเขามาแม้จะมีบางคนพูดว่าเป็นเงินมะกันพิมพ์ขึ้นมาใช้เองก็ช่างมันปะไร?การเดินทางไปเยี่ยมค่ายทหารทำให้เราได้รับรู้และเช้าใจอะไรต่ออะไรไม่น้อยเลย เฉพาะอย่างยิ่งระหว่างการเดินทางเยี่ยมฐานที่ตั้งต่างๆนั้นมักจะเจอการโจมตีอยู่เสมอจนในงานเลี้ยงล่งแม่ทัพฉลาดบอกว่าเป็นคณะที่เสี่ยงอันตรายก็เลยมีการมอบอิสริยาภรณ์เป็นกรณีพิเศษให้แก่ทุกคน (อิสริยาภรณ์ที่ว่านื้เดี๋ยวนื้ไม่รู้ไปอยู่ที่ไหนแล้ว)ในการเยี่ยมค่ายแห่งหนึ่งมีเรื่องราวที่คิดว่าน่าสลดใจก็ได้ ขนลุกก็ได้ หรือแล้วแต่ใครจะคิด ผมเอามาเขียนไว้ในคอลัมน์ “ฉากผ่าน” ใน“พีมฟไทย” เล่าว่า ในค่ายทหารไทยค่ายนั้นมีเด็กเวียดนามอายุราว ๑๒ขวบ มาคอยรับใช้ทุกผู้คน ไม่ว่าใครจะใช้ให้ทำอะไรเจ้าเด็กน้อยรับอาสาทำให้ทั้งนั้น จนเป็นที่สนิทชิดเชื้อจนกระทั้งคืนวันหนึ่ง ค่ายนี้ถูกทหารเวียดกงโจมตีกลางดึก มีการยิงต่อเโดยฝ่ายโจมตีไม่สามารถทำอะไรได้จึงต้องล่าถอยกลับไป รุ่งเช้าได้มีการสำรวจตรวจศพก็พบเด็กชายคนนื้ในเครื่องแบบเวียดกงนอนกอดปีนตายรวมอยู่ด้วยเรื่องอย่างนื้จะให้คิดว่าอย่างไร เพราะต่อจากนั้นแล้วในค่ายจะไม่ยอมให้มีเด็กหรือใครก็ตามที่ไม่สามารถตรวจสอบได้เข้ามาทำอะไรอยู่ในค่ายแม้ว่าคืนนั้นไม่มีใครได้รับบาดเจ็บเลยก็ตาม ไม่มีใครกล้าเสี่ยงอีกแล้วไหนๆ ก็พูดถึงแม่ทัพฉลาด หิรัญคิริ แล้วขอแถมท้ายอีกหน่อย ในคืนวันเลี้ยงต้อนรับพวกเรานั้น พอเสร็จหลายต่อหลายคนก็ฃอลากลับไปนอนที่  โรงแรมซาวอย (ในคืนแรกที่ไปถึง) ผมนั่งในกลุ่มนายทหารผู้ใหญ่หลายคนมีบางคนหยิบเอาดวงชะตาแบบโหราศาสตร์ออกมาจากกระเป๋าส่งให้แม่ทัพฉลาดดู แม่ทัพก็อ่านดาวพระเคราะห้ในดวงไปว่าอย่างนั้นๆ แถมบอกด้วยว่าจะมีอะไรเกิดฃื้น ทำให้ผมรู้ว่าแม่ทัพฉลาดมีความรู้ทางโหราศาสตร์ด้วยซึ่งต่อมาได้มีการทำปฏิวัติ (๒๐ มีนาคม ๒dr๒๐) ยึดอำนาจการปกครองแต่รัฐบาลนายธานินทร์ กรัยวิเชียร ได้ดำเนินการจับกลุ่มผู้ก่อการยึดอำนาจได้สำเร็จ แม่ทัพฉลาดผู้นำการยึดอำนาจถูกตัดสินประหารชีวิตส่วนผู้ร่วมขบวนหลายคนถูกตัดสินจำคุก แต่ภายหลังได้รับนิรโทษกรรมทุกคนผมคิดในขณะนั้นว่าแม่ทัพฉลาดคงจะหาฤกษ์ผานาทีไม,ว่าจะคิดคำนวณเองหรือปรึกษาใครก็ตาม...ล้วนเป็นเรื่องไม่ง่ายนักต่อจากนั้นไม่นาน ก็เป็นคราวที่มีการแข่งขันชิงชนะเลิศซึ่งเท่าที่ผมไล่เลียงปี ค.ศ. ดูแล้วตรงกับปี ค.ศ. ๑๙๖a (พ.ศ. ๒dr๑๑) คือปีของฟุตบอลโลก มีการถ่ายทอดทางสถานีทีวีขาว-ดำ ทีมที่ผมจำได้แม่นยำคือทีมเยอรมันแต่เตะกับทีมชาติไหนไม่แน่ใจว่าเป็นเม็กซิโกหรือเปล่า ในส่วนที่แน่ใจทีมเยอรมันนั้นฉายานักเตะคือ

วิธีไล่หนู “ฉลามขาว” ทั้งๆ ที่ผมไม่เคยรู้ฉายาของนักเตะมาก่อนเช่นเดียวกับคุณไชยยงค์ที่เกิดฟัตจะรายงานข่าวการชิงชนะเลิศด้วยตัวเองแทนที่จะปล่อยให้เป็นหน้าที่ของคุณสุรินทร์ลีลาวัฒน์ ผู้รับผิดชอบข่าวกีฬาคุณไชยยงค์ชักเอากับคุณสุรินทร์ถึงฉายานักเตะเยอรมันอีกสอง-สามคน แล้วก็จดใส่กระดาษไว้พร้อมทั้งชักถามถึงเชิงการเล่นด้วย จนถึงเวลาถ่ายทอดดูเหมือนจะเป็นเวลาราวๆ ๑๐.๐๐ น. หรือกว่านั้นไม่มากนักข่าวอื่นไม่เป็นอันทำงาน นั่งชมการถ่ายทอดเพลงเตะ คุณ1ไชยยงค์,นั้นนั่งหน้าจอ ตาดูหูฟังการพากย์และจดอะไรในแผ่นกระดาษพอจบครึ่งแรกก็ลากเอาพิมพ์ดีดมาแล้วจัดแจงป้อนกระดาษเรียบเรียงตามเพลงเตะจบพอดีกับการเริ่มครึ่งหลังส่งไปให้ช่างเรียงเรียงก่อน พร้อมทั้งบอกว่าท่อนโปรยจะเขียนทีหลัง”ผลการแข่งขันวันนั้นผมจำไม่โต้ว่าใครซนะใครแพ้ ต้นฉบับครึงหลังถูกส่งไปเรียงและตามด้วยท่อนโปรย ดูเหมือนจะมีพาดหัวข่าวไปด้วยเลยผมได้อ่านข่าวในวันรุ่งขึ้นพร้อมกับพรรคพวกหลายคนต่างพากันทึ่งใน่ฝึไม้ลายมือของคุณไชยยงค์ผู้อำนวยการไปตามกัน เพราะอ่านสนุกราวกับว่านั่งหน้าจอว่างั้นเถอะ คุณสุรินทร์นั้นถึงครางออกมา  “ปึมือจริงๆ...”ปกติแล้วงานเขียนของคุณไชยยงค์จะมืออกมาปรากฏสายตาแก่ผู้อ่านในนามปากกา “เชษฐ์” เฉพาะอย่างยิ่งงานเขียนด้านสารคดีเกี่ยวกับสงคราม น้บแต่สงครามโลกครั้งที่สองจะเจาะเขียนเฉพาะศึกรถถังหรือแม้แต่สงครามเวียดนาม “เชษฐ์” ก็เขียนให้อ่านได้มันส์เขียวล่ะ โดยงานเขียนนี้ไม่ได้บอกว่าแปลมาจากหนังลือเล่มไหนผมเคยเข้าไปในห้องทำงานเห็นหนังสือภาษาอังกฤษหลายเล่มกางอยู่บนพื้นห้องก็มี ในมือที่ถือกางอ่านก็มื ทั้งยังเคยถามว่าสารคดีที่เขียนนี้ไม่ได้แปลมาจากหนังสือโดยตรงเลยหรือ คำตอบที่ได้ก็คือ อ่านหนังสือที่เคยลงเรื่องราวเดียวกันหลายเล่ม แต่ละเล่มจะมีข้อมูลหรือรายละเอียดที่ต่างกัน

 เทคนิคเสมอ...ทุกอย่างดำเนินไปด้วยดีเมื่อถึงเวลาที่ต้องออกอากาศเป็นประจำ แต่ต่อมาคุณเฑียรร์ได้พ้นหน้าที่ไปแล้ว คุณชายชาญเข้ามารับช่วงเต็มๆ และมีการปรับปรุงในเวลาต่อมาจนถือได้ว่าก้าวลํ้าหน้าสถานีอื่นก็ว่าได้ส่วนตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ เมื่อนางเรวดี เทียนประภาสได้ถึงแก,อนิจกรรม คุณสุรางค์ (กรรณสูต) เปรมปรีดิ้ ก็วางมือจากโรงเรียนเรวดีมาบริหารแทนจนขณะนี้เป็นสถานีทีวีสีที่มืเรตติ้งสูงแข่งกันกับทีวีสีช่อง ๓ตลอดเวลากว่าแปดเดือนที่ผมนั่งทำงานเป็นบรรณาธิการข่าวช่อง๗ สี ยังคงแบ่งเวลาทำที่พิมพ้ไทยด้วย เพราะคุณไชยยงคํใม่ยอมให้ผมลาออก ทุกเช้าผมต้องมาทำ “ผังรายการ” และตรวจสอบข่าวที่คุณทวีเตรียมไว้ล่วงหน้าก่อนแล้ว ตกบ่ายผมจะรีบไป “ทิมพ้ใทย” แล้วรีบกลับมาดูการตัดต่อฟิล์มข่าวจนกระทั่งข่าวได้ออกอากาศแล้ว ผมจึงเตรียมงานวันรุ่งขึ้นต่อไปพูดถึงเรื่องนี้แล้วต้องขอเล่าให้ฟังว่า Leptospirosis ผมได้ออกโรงไปทำข่าวด้วยตนเอง แต่เหตุสุดวิสัยหรืออะไรก็ตามทำให้ผม “ตกข่าว” อย่างสิ้นเชิงหากทว่ามันเป็นข่าวที่ทำให้ผม “สร้างข่าว” กลับขึ้นมาใหม่เหมือนทุกอย่างเพิ่งจะเกิดขึ้น ฟังดูชอบกลทีเดียวแหละวันนั้นเป็นวันที่จอมพลถนอม กิตติขจร จะปราศรัยผ่านดาวเทียมจากสหรัฐอเมริกามายังประเทศไทย ดูเหมือนจะเป็นเวลาตอนหกโมงเช้าผมนัดช่างกล้องคือคุณปานเทพ กุยโกมุท พร้อมฟิล์มออกเดินทางจากสำนักงานตรงสี่แยกเจริญผลราวๆ ตีสี่ คนขับพารถไปได้ไม่นานประมาณเลยบางlj ผมใจร้อนจึงเช้าไปขับเอง รถแล่นต่อไปด้วยความเร็วทีเดียวแต่ผมก็ต้องชะลอลงเพราะฝนเทลงมาอย่างหนักแถมมีพายุเสียอีก เป้าหมายคือสถานีรับภาพดาวเทียมที่ศรีราชาฝนยังคงตกต่อเนื่องจนไม่สามารถมองทิวทัศน์ได้ว่าเดินทางถึงไหน 

แล้ว รถก็วิ่งไม่ได้เร็ว พอฝนเริ่มเบาลงปรากฏว่าเราเลยสถานีศรีราชาไปแล้ว ผมจึงกลับรถแล้วย้อนมาจนถึงสถานีซึ่งเป็นเวลาเลยหกโมงเช้าไปแล้ว ประมาณว่าลักสามสิบกว่านาที และนั่นก็คือการรับภาพจอมพลถนอมได้ฝานพ้นไปแล้ว ผมตกข่าวนี้แน่นอน ปีนเย้กังนึกโกรธดินพ้าอากาศ เครื่องไล่แมลงสาบ โกรธตัวเอง มันคงมองหน้าใครไม่ได้ที' “ตกข่าว”ขณะนั้นเองผผก็เห็นคุณนพดล จันทไพบูลย์ เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคของช่อง โผล่มาจากห้องไหนไม่รู้ ผมเข้าไปหาแล้วถามว่ามาทำอะไรที่นี่ คำตอบที่ได้รับคือเป็นคนรับผิดชอบในการบันทึกเทป (ขาว-คำ) เพื่อนำไปออกรายการ เพราะที่นั่นเวลานั้นไม่มีเจ้าหน้าที่ที่จะดำเนินการได้เท่านั้นแหละที่ทำให้ผมมองเห็นการบู้หน้า “ตกข่าว”ผมบอกกับคุณนพดลว่า ช่วยจัดทุกอย่างเหมือนในช่วงเวลาที่มีการถ่ายทอดภาพลงมา ใครนั่งตรงไหน ทำอะไร เสร็จแล้วผมจะให้ “คิว”ในการปล่อยเทปภาพที่(สมมติ) เหมือนจอมพลถนอมเพิ่งปราศรัยอย่างนี้ได้ไหม คุณนพดลหัวเราะแล้วจัดการขอให้เจ้าหน้าที่ที่นั่นเข้าประจำหน้าที่  โผมหันมาจังคุณปานเทพทีเตรียมพร้อมอยู่แล้ว ให้ถ่ายตรงนัน ตรงนี และให้ “คิว”  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปล่อยเทปภาพออกมาเมื่อกล้องคุณปานเทพแพนไปถึง ทุกอย่างดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยโดยอาลัย “สคริปต์สด” และคุณปานเทพนั้นอดีตคือช่างกล้องภาพยนตร์จึงสะดวกผมขอบคุณคุณนพดลอย่างมากที่ช่วยเหลือทำให้ผมได้ข่าว และเมื่อกลับมาก็ตัดต่อเองในตอนบ่าย หลังจากเขียนข่าวแล้ว วิชาเขียนบทมืล่วนช่วยให้ข่าวลมบูรณ์ปรากฏว่าข่าวชิ้นนี้เมื่อคุณราชันย์ ถูเซ็น ไปเข้าอบรมงานข่าวทีวีของบูลนิธิเอเชีย แล้วหยิบไปเสนอผู้ดำเนินการอบรม ได้ยกย่องว่าเป็นข่าวที่มืความสมบูรณ์ทีเดียว คุณราชันย์มาเล่าให้ฟังพลอยให้บรรณาธิการได้หน้าไปด้วยการทำข่าวที่ต้องใช้ฟิล์ม ๑๖ ม.ม. โดยมีเล์นตาย ๑ar.oo น. เท่ากับปิดข่าวตามเวลานั้น เวลาที่จะเก็บข่าวในแต่ละวันจึงมีไม่มากนัก แต่ถึงอย่างนั้นในเวลาสิบนาทีก็สามารถเสนอข่าวได้ถึงอย่างน้อย ๕ ข่าวและไม่เกินเจ็ดข่าว มีปัญหาไม่น้อยทีเดียว แต่ทุกอย่างก็ลุล่วงด้วยดีช่วงเวลานั้นบังเอิญผมรับภาระเป็นเลขาธิการสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย โดย “น้าหอม” คุณเซลง กัทลีรดะพันธุ เป็นนายกฯ ปรากฏว่ากองพลอาสาสมัคร “เสือดำ” โดย พล.ต.ฉลาด หิรัญศิริ แม่ทัพ ขอให้สมาคมนักข่าวฯ จัดนักข่าวเดินทางไปเยือนในฐานะที่กองทัพไทยได้ร่วมสมรภูมิกับสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย ตกที่นั่งผมเป็นหัวหน้าคณะมีนักข่าว-ช่างภาพ ๑๔ คน ซึ่งในจำนวนนี้มีคุณสรรพศิริ วิริยคิริ พี่ชายคุณสมบูรณ์ร่วมขบวนไปด้วย และอีกคนที่ผมขออนุญาตเอ่ยถึงคือ คุณโชติ ทัศนียะเวช ซึ่งถึงแก่กรรมไปแล้ว ส่วนผมเอาช่างภาพทีวีลีคือคุณเรวัต เศวตไอยาราม ตามไปด้วยผมได้เขียนถึงเรื่องราวบางตอนไว้ในหนังสืออนุสรณ์ คุณโชติทัศนียะเวช และขอนำมาเสนอต่อผู้อ่านเป็นบางช่วง“เราเดินทางไปยังค่าย ‘เสือดำ’ และพกแรมที่นั่น คืนวันแรกหลังจากเข้านอนแล้วในโรงโล่งๆ ที,ปลูกไว้ยาว มีที่นอนวางเรียงกันไปทั้งสองฝัง แต่ทว่าเสียงปีนใหญ่ที่ยิงสนั่นทำให้ทุกคนตื่นกันหมดและพากันออกมานอกโรงนอนนายทหารลอง-สามนายที่คอยดูแลเราได้ชื้ให้เห็นว่าบนท้องฟ้าเวลานั้นมีเฮลิคอปเตอร์กำลังปฏิบัติการโจมตีในลักษณะลอยลำแล้วยิงกระสุนปีนกลอย่างต่อเนื่องเป็นทางสีแดงฉานมิได้ขาดตอนเลยตลอดเวลาที่เรายืนดูกันอยู่” นื่คือช่วงหนึ่งที่เขียนเล่าไว้การยิงต่อเนื่องอย่างนี้เรียกว่า “กันชิฟ” แล้วต่อมาพวกเราก็ตระเวนไปยังฐานปีนใหญ่อีกหลายแห่ง มีอยู่แห่งหนึ่งเฮลิคอปเตอร์ไม่ยอมลง


เครื่องไล่หนูไฟฟ้าราคาถูก




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น